คำในภาษาไทยจำแนกได้ 7 ชนิดคือ
คำนาม คำสรรพนาม คำกริยา คำบุรำบท คำสันธาน และคำอุทาน
คำนาม คำสรรพนาม คำกริยา คำบุรำบท คำสันธาน และคำอุทาน
คำนาม คือคำที่ใช้เรียนชื่อคน สัตว์ สิ่งของ และสถานที่ เช่น ครู นักปลา ดินสอโต๊ะ บ้าน โรงเรียน แบ่ง 5 ชนิด ได้แก่
1. สามานยนาม ได้แก่นามที่เป็นชื่อทั่ว ๆ ไป เช่นหนู ไก่ โต๊ะ บ้าน คน
2. วิสามานนาม เป็นชื่อเฉพาะ เช่น นายทอง เจ้าดำ ชื่อวัน ชื่อเดือน ชื่อจังหวัด ชื่อประเทศ ชื่อแม่น้ำ ชื่อเกาะ
3. สุหนาม นามที่เป็นหมู่คณะ เช่น ฝูง โขลง กลอง หรือคำที่มีความหมายไปในทางจำนวนมาก เช่น รัฐบาล องค์กร กรม บริษัท
4. ลักษณนาม เป็นคำนามที่บอกลักษณะของนาม มักใช้หลังคำวิเศษที่บอกจำนวนนับ เช่น ภิกษุ 4 รูป นาฬิกา 4 เรือน
5. อาการนาม คือ นามที่เป็นชื่อกริยาอาการในภาษามักใช้คำว่า “การ” และ “ความ” นำหน้า เช่น การนั่งการกิน ความดี ความจน
คำนามที่อยู่ในประโยคจะทำหน้าที่ได้ทั้งเป็นประธานและกริยาของประโยค เช่น
1. สามานยนาม ได้แก่นามที่เป็นชื่อทั่ว ๆ ไป เช่นหนู ไก่ โต๊ะ บ้าน คน
2. วิสามานนาม เป็นชื่อเฉพาะ เช่น นายทอง เจ้าดำ ชื่อวัน ชื่อเดือน ชื่อจังหวัด ชื่อประเทศ ชื่อแม่น้ำ ชื่อเกาะ
3. สุหนาม นามที่เป็นหมู่คณะ เช่น ฝูง โขลง กลอง หรือคำที่มีความหมายไปในทางจำนวนมาก เช่น รัฐบาล องค์กร กรม บริษัท
4. ลักษณนาม เป็นคำนามที่บอกลักษณะของนาม มักใช้หลังคำวิเศษที่บอกจำนวนนับ เช่น ภิกษุ 4 รูป นาฬิกา 4 เรือน
5. อาการนาม คือ นามที่เป็นชื่อกริยาอาการในภาษามักใช้คำว่า “การ” และ “ความ” นำหน้า เช่น การนั่งการกิน ความดี ความจน
คำนามที่อยู่ในประโยคจะทำหน้าที่ได้ทั้งเป็นประธานและกริยาของประโยค เช่น
ประโยค ประธาน กริยา กรรม
ม้าวิ่ง ม้า วิ่ง -
นักเรียนไปโรงเรียน นักเรียน ไป โรงเรียน
แมวจับหนู แมว จับ หนู
ครูทำโทษสมชาย ครู ทำโทษ สมชาย
ม้าวิ่ง ม้า วิ่ง -
นักเรียนไปโรงเรียน นักเรียน ไป โรงเรียน
แมวจับหนู แมว จับ หนู
ครูทำโทษสมชาย ครู ทำโทษ สมชาย